ในตัวอย่างนี้ ในตัวอย่างนี้ มีการใช้งานตัวแปรหลายตัวเพื่อเก็บค่าที่แตกต่างกัน ได้แก่ ตัวแปร counter
ซึ่งจะใช้เพื่อเป็นตัวนับว่ามีการรับค่าตัวเลขไปกี่ตัวแล้ว ตัวแปร sum ใช้เพื่อเก็บค่าผลรวมของตัวเลขทุกตัว
ซึ่งตัวแปลทั้งสองตัวนี้จะถูกกำหนดค่าให้เป็น 0 ก่อนที่จะใช้งาน สำหรับตัวแปร x จะใช้เพื่อรับค่าตัวเลข
ทีละตัวเมื่อรับค่าแล้ว จะถูกนำค่าไปรวมกับค่า sum เป็นการเก็บค่าผลรวม แล้วตัวแปร x จะสามารถถูกนำไปใช้ซ้ำเพื่อรับค่าตัวเลขถัดไปอีก แล้วแปรสุดท้ายคือ average ที่ใช้เพื่อเก็บค่าเฉลี่ยที่หาได้แล้วรอการนำไปแสดงผลต่อไป
วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2555
ตัวอย่างที่ 6.7
ให้เขียนรหัสลำลองและผังงานเพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีในการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 5 จำนวน โดยกำหนดให้สามารถรับค่าตัวเลขได้เพียงครั้งละหนึ่งจำนวนเท่านั้น และให้ใช้สัญลักษณ์กำหนดค่าร่วมกับตัวแปรในการทำงานเพื่อให้ได้รหัสลำลองและผังงานที่กะทัดรัด


ในการเขียนรหัสลำลองหรือผังงานเพื่อจำลองความคิดขั้นตอนการแก้ปัญหา
เราจะกำหนดชื่่อตัวแปรขึ้นมาใช้งานได้อย่างอิสระ เมื่อต้องการกำหนดค่าให้กับตัวแปร ให้ใช้สัญลักษณ์กำหนดค่า ซึ่งเป็นเครื่องหมายลูกศรชี้จากขวามาซ้าย โดยมีรูปแบบดังนี้



เช่น

เป็นการกำหนดตัวแปรชื่อ age ให้มีค่าเป็น 16 ซึ่งถ้าตัวแปร age เคยถูกกำหนดค่าไว้ก่อนแล้ว ค่าดั้งเดิมจะถูกแทนที่ด้วยค่าที่กำหนดให้ใหม่ทันที และค่านี้จะคงอยู่ไปจนกว่าจะถูกเปลี่ยนแปลงอีกครั้งหนึ่ง
ในการคิดค้นหาวิธีแก้ปัญหาหรือประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
อาจมีความจำเป็นต้องบันทึกหรือพักข้อมูลไว้ที่ใดที่หนึ่ง เพื่อให้สามารถใช้อ้างอิงได้ในภายหลัง ตัวอย่างเช่น การที่จะนับว่ามีการรับตัวเลขเข้ามาเพื่อคำนวณครบ 5 ตัวหรือยัง จะต้องมีการเก็บค่าที่ใช้นับจำนวนเอาไว้ ซึ่งจะเก็บอยู่ใน "ตัวแปร" (variable) ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับตัวแปรทางคณิตศาตร์ จะต้องมีการตั้งชื่อให้กับตัวแปร มีการกหนดค่าให้กับตัวแปรและค่าของตัวแปรอาจถูกเปลี่ยนแปลงไปได้ระหว่างที่ทำการประมวลผล หรือระหว่างการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างที่ 6.6
ให้เขียนผังงานเพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีในการเปลี่ยนยางรถเมื่อยางแบนในขณะที่ขับรถ

จากผังงานข้างต้นแสดงวิธีการแก้ปัญหาแบบลำดับตั้งแต่ต้นจนจบ โดยการแก้ปัญหาจะไม่มีการข้ามขั้นตอน
การเขียนผังงาน
ในการเขียนผังงานมีหลักการ คือ ให้เลือกสัญลักษณ์แทนกระบวนการที่ถูกต้อง และเขียนข้อความสั้นๆ
แทนสิ่งที่ต้องกระทำลงในรูปสัญลักษณ์ แล้วนำมาเรียงต่อกัน เชื่อมแต่ละสัญลักษณ์ด้วยลูกศร โดนทั่วไปแล้ว จะเรียงลำดับของสัญลักษณ์ไว้จากบนลงล่าง ตามลำดับของการทำงาน หรืออาจจะใช้หัวลูกศรระบุลำดับก่อนหลังของการทำงานก็ได้
การเชื่อมต่อสัญลักษณ์ต่างๆ ของผังงาน อาจทำให้มีการตัดกันของเส้นลูกศรจนอาจเกิดความสบสนได้ ผู้เขียนจนควรเลือกใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อในหน้าเดียวกัน โดยระบุตัวอักษรเดียวกันเพื่อหมายถึงการเชื่อมสองจุดของผังงานเข้าด้วยกัน แต่ถ้าผังงานใหญ่เกินหน้ากระดาษ ให้เลือกใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ เพื่อเชื่อมระหว่างสองจุดของผังงานที่ข้ามไปอยู่คนละหน้ากัน
แทนสิ่งที่ต้องกระทำลงในรูปสัญลักษณ์ แล้วนำมาเรียงต่อกัน เชื่อมแต่ละสัญลักษณ์ด้วยลูกศร โดนทั่วไปแล้ว จะเรียงลำดับของสัญลักษณ์ไว้จากบนลงล่าง ตามลำดับของการทำงาน หรืออาจจะใช้หัวลูกศรระบุลำดับก่อนหลังของการทำงานก็ได้
การเชื่อมต่อสัญลักษณ์ต่างๆ ของผังงาน อาจทำให้มีการตัดกันของเส้นลูกศรจนอาจเกิดความสบสนได้ ผู้เขียนจนควรเลือกใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อในหน้าเดียวกัน โดยระบุตัวอักษรเดียวกันเพื่อหมายถึงการเชื่อมสองจุดของผังงานเข้าด้วยกัน แต่ถ้าผังงานใหญ่เกินหน้ากระดาษ ให้เลือกใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ เพื่อเชื่อมระหว่างสองจุดของผังงานที่ข้ามไปอยู่คนละหน้ากัน
6.2.2 ผังงาน
ผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รูปสัญลักษณ์มาเรียงต่อกัน
สัญลักษณ์แต่ละแบบจะมีความหมายถึงกระบวนการที่แตกต่างกัน โดยจะมีคำอธิบายสั้นๆ
เพิ่มเติมในรูปสัณลักษณ์ ความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในผังงานได้ถูกกำหนด
โดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute : ANSI)
เพื่อให้สามารถสื่อความหมายตรงกัน ซึ่งมีรายละเอียดของสัญลักษณ์และความหมายที่ควรทราบ
ตามตารางที่ 6.2
สัญลักษณ์แต่ละแบบจะมีความหมายถึงกระบวนการที่แตกต่างกัน โดยจะมีคำอธิบายสั้นๆ
เพิ่มเติมในรูปสัณลักษณ์ ความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในผังงานได้ถูกกำหนด
โดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute : ANSI)
เพื่อให้สามารถสื่อความหมายตรงกัน ซึ่งมีรายละเอียดของสัญลักษณ์และความหมายที่ควรทราบ
ตามตารางที่ 6.2
ตารางที่ 6.2 สัญลักษณ์และความหมายของผังงาน
ตัวอย่างที่ 6.5
ตัวอย่างที่ 6.5
ให้เขียนรหัสลำลองเพื่อถ่ายทอดความคิดชขั้นตอนวิธีในการหาค่าเฉลี่ย
ของเลขจำนวนเต็ม 5 จำนวน โดยกำหนดให้สามารถรับค่าตัวเลขได้
เพียงครั้งละหนึ่งจำนวนเท่านั้น
เริ่มต้น
1.รับค่าตัวเลขหนึ่งจำนวน
2.บวกค่าตัวเลขเก็บไว้ในค่ารวมผล
3.ถ้าได้ค่าตัวเลขยังไม่ครบ 5 จำนวน ให้กลับไปทำข้อ 1
4.ถ้าได้ตัวเลขครบ 5 จำนวนแล้ว ให้นำค่าผลรวมจากข้อ 2 มาหารด้วย 5 ได้เป็นผลลัพธ์
5.พิมพ์ผลลัพธ์
ของเลขจำนวนเต็ม 5 จำนวน โดยกำหนดให้สามารถรับค่าตัวเลขได้
เพียงครั้งละหนึ่งจำนวนเท่านั้น
เริ่มต้น
1.รับค่าตัวเลขหนึ่งจำนวน
2.บวกค่าตัวเลขเก็บไว้ในค่ารวมผล
3.ถ้าได้ค่าตัวเลขยังไม่ครบ 5 จำนวน ให้กลับไปทำข้อ 1
4.ถ้าได้ตัวเลขครบ 5 จำนวนแล้ว ให้นำค่าผลรวมจากข้อ 2 มาหารด้วย 5 ได้เป็นผลลัพธ์
5.พิมพ์ผลลัพธ์
วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555
เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบและขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา
การออกแบบวิธีปัญหาเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยประสบการณ์ ความรู้ความเข้าใจในปัญญา และความคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นตอนแล้ว ยังต้องอาศัยเครื่องมือที่จะช่วยถ่ายทอด
รหัสสำรอง
รหัสสำลองเป็นการใช้คำบรรยายเพื่ออธิบายขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา การเขียนรหัสลำลองไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความถนัดของผู้เขียน ซึ่งอาจจะเขียนอย่างละเอียดหรือย่อ
ตัวอย่างที่ 6.4
ให้เขียนรหัสลำลองเพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีในการเปลี่ยนยางรถเมื่อยางแบนในขณะขับรถ
เริ่มต้น
1. จอดรถหลบข้างทาง
2. คลายสกรูยืดล้อออกเล็กน้อย
3. ยกรถด้วยแม่แรง
4. ถอดสกรูยึดล้อ
5. ถอดล้อออก
6. เปลี่ยนยางอะไหล่
7. ขันสกรูยึดล้อให้พอแน่น
8. คลายแม่แรง และนำไปเก็บ
9. ขันสกรูยึดล้อให้แน่น
10. เก็บยางที่แบนเพื่อไปซ่อม
จบ
วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555
History
Welcome My name is Pookkie
ชื่อ นางสาว อาริตา ข่ายแก้ว
เรียนอยูื้่โรงเรียนลำปางกลัยาณี :))
เรียนอยู่ชั้นมัทยมคึกษาปีที่ 4
facedook : pookkie love
e-mail : mypookkie_ta@hotmail.com
ยังไงก็มาเป็นเพื่อนกันนะค่ะ ^^
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)